ฮาร์ดดิสก์ (อังกฤษ: hard disk) หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
North Bridge และ South Bridge
ชิปเซ็ตประเภทนี้ มีหลักการทำงานที่พอจะอธิบายได้อย่างคร่าว ๆ ดังนี้ ก็คือ ตัวชิปเซ็ตที่เป็นแบบ North Bridge และ South Bridge จะมีอยู่ 2 ตัวด้วยกัน ตัวแรกจะทำหน้าที่เป็น North Bridge จะทำหน้าที่ติดต่อกับอุปกรณ์ที่มีความเร็วสูงทั้งหมดในเมนบอร์ด ซึ่งได้แก่ ซีพียู หน่วยความจำ(แรม) และการฟิกการ์ด
ตัวที่สองจะทำหน้าที่เป็น South Bridge จะทำหน้าที่ติดต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงจำพวกฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์และ South Bridge จะมีระบบบัสแบบ PCI ขนาด 32 บิต ความเร็ว 33 MHz เป็นตัวเชื่อมต่อการทำงาน ซึ่งหมายความว่าชิปเซ็ต North Bridge และ South Bridge นั้นสามารถถ่ายโอนข้อมูลระหว่างกันได้ที่ความเร็วสูงสุดถึง 132 MB./Sec
ชิปเซ็ตประเภทนี้ มีหลักการทำงานที่พอจะอธิบายได้อย่างคร่าว ๆ ดังนี้ ก็คือ ตัวชิปเซ็ตที่เป็นแบบ North Bridge และ South Bridge จะมีอยู่ 2 ตัวด้วยกัน ตัวแรกจะทำหน้าที่เป็น North Bridge จะทำหน้าที่ติดต่อกับอุปกรณ์ที่มีความเร็วสูงทั้งหมดในเมนบอร์ด ซึ่งได้แก่ ซีพียู หน่วยความจำ(แรม) และการฟิกการ์ด
ตัวที่สองจะทำหน้าที่เป็น South Bridge จะทำหน้าที่ติดต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงจำพวกฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์และ South Bridge จะมีระบบบัสแบบ PCI ขนาด 32 บิต ความเร็ว 33 MHz เป็นตัวเชื่อมต่อการทำงาน ซึ่งหมายความว่าชิปเซ็ต North Bridge และ South Bridge นั้นสามารถถ่ายโอนข้อมูลระหว่างกันได้ที่ความเร็วสูงสุดถึง 132 MB./Sec
วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552
พันธุ์ข้าวไทย

ชื่อพันธุ์กข5 (RD5)ชนิดข้าวเจ้าคู่ผสมพวงนาค 16 / ซิกาดิสประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์พวงนาค 16 ของไทยกับพันธุ์ซิกาดิส ของอินโดนีเซีย ได้ผสมพันธุ์และคัดพันธุ์แบบสืบตระกูลที่สถานีทดลองข้าวบางเขน เมื่อปี พ.ศ.2508 จนได้สายพันธุ์ BKN6517-9-2-2การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรองเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2516ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้าต้นสูง สูงประมาณ 145 เซนติเมตรเป็นพันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงเล็กน้อย เหมาะที่จะปลูกเป็นข้าวนาปี ถ้าปลูกตามฤดูกาลจะเก็บเกี่ยวได้ปลายเดือนพฤศจิกายน แต่ถ้าปลูกในฤดูนาปรังหรือไม่ปลูกตามฤดูกาล อายุจะอยู่ระหว่าง 140-160 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเดือนที่ลำต้นสีม่วง มีรวงยาว ต้นแข็งไม่ล้มง่ายปลูกระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 6 สัปดาห์เมล็ดข้าวเปลือกสีฟางก้นจุดท้องไข่น้อย
ชื่อพันธุ์กข6 (RD6)ชนิดข้าวเหนียวประวัติพันธุ์ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 20 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 แล้วนำมาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวบางเขนและสถานีทดลองข้าวพิมาย จากการคัดเลือกได้ข้าวเหนียวหลายสายพันธุ์ในข้าวชั่วที่ 2 นำไปปลูกคัดเลือกจนอยู่ตัวได้สายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ สายพันธุ์ KDML105'65-G2U-68-254 นับว่าเป็นข้าวพันธุ์ดีพันธุ์แรกของประเทศไทย ที่ค้นคว้าได้โดยใช้วิธีชักนำพันธุ์พืชให้เปลี่ยนกรรมพันธุ์โดยใช้รังสีการรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2520ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเหนียว สูงประมาณ 154 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงทรงกอกระจายเล็กน้อย ใบยาวสีเขียวเข้ม ใบธงตั้ง เมล็ดยาวเรียวเมล็ดข้าวเปลือกสีน้ำตาลอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 21 พฤศจิกายนระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 5 สัปดาห์

ชื่อพันธุ์กข8 (RD8)ชนิดข้าวเหนียวคู่ผสมเหนียวสันป่าตอง*2 / ไออาร์ 262ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์เหนียวสันป่าตอง กับพันธุ์ไออาร์ 262 ในปี พ.ศ.2509 แล้วผสมกลับไปหาพันธุ์เหนียวสันป่าตองอีกครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ.2510 โดยผสมพันธุ์และคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวบางเขนได้สายพันธุ์ BKN6721 เมล็ดพันธุ์ผสมชั่วที่ 2 ถูกส่งไปให้สถานีทดลองข้าวขอนแก่นทำการปลูกคัดเลือกต่อ และได้เปลี่ยนชื่อคู่ผสมตามรหัสของสถานีเป็นสายพันธุ์ KKN6721 สถานีทดลองข้าวขอนแก่นได้ทำการคัดเลือกและปลูกเปรียบเทียบผลผลิต จนได้สายพันธุ์ KKN6721-5-7-4การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2521ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเหนียว สูงประมาณ 150 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 23 พฤศจิกายนลำต้นและใบสีเขียวเข้ม ใบธงตั้ง ฟางแข็ง ชูรวงอยู่เหนือใบ เมล็ดข้าวค่อนข้างป้อม ลำต้นแข็งเมล็ดข้าวเปลือกสีเหลืองระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 3 สัปดาห์

ชื่อพันธุ์กข15 (RD15)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 15 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในปี พ.ศ. 2508 แล้วนำมาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวต่างๆ ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนได้สายพันธุ์ KDML 105'65G1U-การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2521ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 10 พฤศจิกายนลำต้นและใบสีเขียวอ่อน ใบธงทำมุมกับคอรวง รวงอยู่เหนือใบ ใบยาว ค่อนข้างแคบเมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ปลายบิดงอเล็กน้อยระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 7 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 7.5 x 1.7 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์กข13 ( RD13 )ชนิดข้าวเจ้าคู่ผสมนางพญา 132 / ผักเสี้ยน 39ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์นางพญา 132 กับพันธุ์ผักเสี้ยน 39 ที่สถานีทดลองข้าวบางเขน ในปี พ.ศ.2507 แล้วนำข้าวพันธุ์ผสมชั่วที่ 2 ไปปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวควนกุฎ จังหวัดพัทลุง จนได้สายพันธุ์ BKN6402-352การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2521ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 160 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นตั้งตรง สีเขียว ใบธงตก ชูรวงอยู่เหนือใบ ระแง้ถี่อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 26 กุมภาพันธ์เมล็ดข้าวเปลือกสีน้ำตาลท้องไข่ปานกลางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 3 สัปดาห์

ชื่อพันธุ์กข27 (RD27)ชนิดข้าวเจ้าคู่ผสมขาวตาอู๋ / ขาวตาแห้ง 17ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์ขาวตาอู๋ กับ พันธุ์ขาวตาแห้ง 17 ที่สถานีทดลองข้าวบางเขน เมื่อปี พ.ศ. 2504 แล้วทำการคัดเลือกและปลูกเปรียบเทียบผลผลิตจนได้สายพันธุ์ BKN6113-79การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรองเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2524ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 160 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยวประมาณ วันที่ 10 ธันวาคมมีลำต้นและใบสีเขียว ทรงกอค่อนข้างตั้ง ต้นใหญ่ และใบยาวเมล็ดค่อนข้างป้อม ข้าวเปลือกสีฟางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์ท้องไขน้อยเมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา= 2.3 x 7.5 x 1.8 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์กำผาย 15 (Gam Pai 15)ชนิดข้าวเหนียวประวัติพันธุ์ได้จากการรวบรวมพันธุ์โดยพนักงานเกษตรอำเภอ จากอำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เมื่อ พ.ศ. 2493-2494 จำนวน 99 รวง และปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ที่สถานีทดลองข้าวพาน และสถานีทดลองข้าวสันป่าตอง ระหว่าง พ.ศ.2500-2505 คัดเลือกได้สายพันธุ์ กำผาย 30-12-15การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์ุ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2505ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเหนียวต้นสูง สูงประมาณ 168 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 30 พฤศจิกายนระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 6 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.8 x 7.2 x 2.0 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์เก้ารวง 88 (Gow Ruang 88)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์ได้จากการรวบรวมพันธุ์โดยพนักงานเกษตร จากอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2493-2494 จำนวน 203 รวง แล้วนำไปคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ตามสถานีทดลองข้าวต่างๆ จนได้สายพันธุ์ เก้ารวง 17-2-88การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2505ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นและใบสีเขียวเข้ม เมล็ดข้าวรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีฟางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 21 พฤศจิกายนระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 8 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา =2.2 x 7.3 x 1.7 มิลลิเมตรปริมาณอมิโลส 22-26%คุณภาพข้าวสุก ร่วน นุ่ม

ชื่อพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (Khao Dawk Mali 105)ชนิดข้าวเจ้าหอมประวัติพันธุ์ได้มาโดยนายสุนทร สีหะเนิน เจ้าพนักงานข้าว รวบรวมจากอำเภอบางคล้าจังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อ พ.ศ.2493-2494 จำนวน 199 รวง แล้วนำไปคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ (Pure Line Selection) และปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ที่สถานีทดลองข้าวโคกสำโรง แล้วปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ท้องถิ่นในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนได้สายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 4-2-105 ซึ่งเลข 4 หมายถึง สถานที่เก็บรวงข้าว คืออำเภอบางคล้า เลข 2 หมายถึงพันธุ์ทดสอบที่ 2 คือ ขาวดอกมะลิ และเลข 105 หมายถึง แถวหรือรวงที่ 105 จากจำนวน 199 รวงการรับรองพันธุ์คณะกรรมการการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2502ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นสีเขียวจาง ใบสีเขียวยาวค่อนข้างแคบ ฟางอ่อน ใบธงทำมุมกับคอรวง เมล็ดข้าวรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีฟางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 25 พฤศจิกายนเมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 7.5 x 1..8 มิลลิเมตรปริมาณอมิโลส 12-17%คุณภาพข้าวสุก นุ่ม มีกลิ่นหอม

ชื่อพันธุ์ขาวตาแห้ง 17 (Khao Tah Haeng 17)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์เป็นพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่ชนะการประกวดเมื่อ พ.ศ.2499 แล้วนำไปปลูกคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ ตามสถานีทดลองข้าวต่างๆ ทั่วประเทศ คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ให้ใช้ขยายพันธุ์เมื่อ พ.ศ.2499 แต่เนื่องจากไม่ต้านทานโรคไหม้ จึงได้ยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ.2506 และได้นำกลับมาขยายพันธุ์ใหม่ ในปี พ.ศ.2508 เนื่องจากเป็นพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดี โรงสีรับซื้อและให้ราคาดี จึงเป็นที่นิยมปลูกของชาวนามาโดยตลอดการรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์ เมื่อปี พ.ศ.2499 และ พ.ศ.2508ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 150 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นสีเขียว กอแผ่กระจาย แตกกอดี เมล็ดข้าวมีรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีเหลืองจางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 20 ธันวาคมระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 8 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.3 x 7.5 x 1.8 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์ ขาวปากหม้อ 148 (Khao Pahk Maw 148)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์ได้จากการรวบรวมพันธุ์โดยนายทอง ฝอยหิรัญ พนักงานเกษตร จากอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี เมื่อปี พ.ศ.2495-2496 จำนวน 196 รวง แล้วนำมาคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ตามสถานีทดลองข้าวต่างๆ จนได้สายพันธุ์ขาวปากหม้อ 55-3-148การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2508ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นสีเขียว แตกกอดี ทรงกอตั้งตรง ใบกว้างและยาว เมล็ดมีรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีฟางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 3 ธันวาคมระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 6 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.3 x 7.6 x 1.9 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์กข6 (RD6)ชนิดข้าวเหนียวประวัติพันธุ์ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 20 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 แล้วนำมาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวบางเขนและสถานีทดลองข้าวพิมาย จากการคัดเลือกได้ข้าวเหนียวหลายสายพันธุ์ในข้าวชั่วที่ 2 นำไปปลูกคัดเลือกจนอยู่ตัวได้สายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ สายพันธุ์ KDML105'65-G2U-68-254 นับว่าเป็นข้าวพันธุ์ดีพันธุ์แรกของประเทศไทย ที่ค้นคว้าได้โดยใช้วิธีชักนำพันธุ์พืชให้เปลี่ยนกรรมพันธุ์โดยใช้รังสีการรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2520ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเหนียว สูงประมาณ 154 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงทรงกอกระจายเล็กน้อย ใบยาวสีเขียวเข้ม ใบธงตั้ง เมล็ดยาวเรียวเมล็ดข้าวเปลือกสีน้ำตาลอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 21 พฤศจิกายนระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 5 สัปดาห์

ชื่อพันธุ์กข8 (RD8)ชนิดข้าวเหนียวคู่ผสมเหนียวสันป่าตอง*2 / ไออาร์ 262ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์เหนียวสันป่าตอง กับพันธุ์ไออาร์ 262 ในปี พ.ศ.2509 แล้วผสมกลับไปหาพันธุ์เหนียวสันป่าตองอีกครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ.2510 โดยผสมพันธุ์และคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวบางเขนได้สายพันธุ์ BKN6721 เมล็ดพันธุ์ผสมชั่วที่ 2 ถูกส่งไปให้สถานีทดลองข้าวขอนแก่นทำการปลูกคัดเลือกต่อ และได้เปลี่ยนชื่อคู่ผสมตามรหัสของสถานีเป็นสายพันธุ์ KKN6721 สถานีทดลองข้าวขอนแก่นได้ทำการคัดเลือกและปลูกเปรียบเทียบผลผลิต จนได้สายพันธุ์ KKN6721-5-7-4การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2521ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเหนียว สูงประมาณ 150 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 23 พฤศจิกายนลำต้นและใบสีเขียวเข้ม ใบธงตั้ง ฟางแข็ง ชูรวงอยู่เหนือใบ เมล็ดข้าวค่อนข้างป้อม ลำต้นแข็งเมล็ดข้าวเปลือกสีเหลืองระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 3 สัปดาห์

ชื่อพันธุ์กข15 (RD15)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ โดยการใช้รังสีชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยใช้รังสีแกมมาปริมาณ 15 กิโลแรด อาบเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในปี พ.ศ. 2508 แล้วนำมาปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวต่างๆ ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนได้สายพันธุ์ KDML 105'65G1U-การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2521ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 10 พฤศจิกายนลำต้นและใบสีเขียวอ่อน ใบธงทำมุมกับคอรวง รวงอยู่เหนือใบ ใบยาว ค่อนข้างแคบเมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ปลายบิดงอเล็กน้อยระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 7 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 7.5 x 1.7 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์กข13 ( RD13 )ชนิดข้าวเจ้าคู่ผสมนางพญา 132 / ผักเสี้ยน 39ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์นางพญา 132 กับพันธุ์ผักเสี้ยน 39 ที่สถานีทดลองข้าวบางเขน ในปี พ.ศ.2507 แล้วนำข้าวพันธุ์ผสมชั่วที่ 2 ไปปลูกคัดเลือกที่สถานีทดลองข้าวควนกุฎ จังหวัดพัทลุง จนได้สายพันธุ์ BKN6402-352การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2521ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 160 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นตั้งตรง สีเขียว ใบธงตก ชูรวงอยู่เหนือใบ ระแง้ถี่อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 26 กุมภาพันธ์เมล็ดข้าวเปลือกสีน้ำตาลท้องไข่ปานกลางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 3 สัปดาห์

ชื่อพันธุ์กข27 (RD27)ชนิดข้าวเจ้าคู่ผสมขาวตาอู๋ / ขาวตาแห้ง 17ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างพันธุ์ขาวตาอู๋ กับ พันธุ์ขาวตาแห้ง 17 ที่สถานีทดลองข้าวบางเขน เมื่อปี พ.ศ. 2504 แล้วทำการคัดเลือกและปลูกเปรียบเทียบผลผลิตจนได้สายพันธุ์ BKN6113-79การรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรองเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2524ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 160 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยวประมาณ วันที่ 10 ธันวาคมมีลำต้นและใบสีเขียว ทรงกอค่อนข้างตั้ง ต้นใหญ่ และใบยาวเมล็ดค่อนข้างป้อม ข้าวเปลือกสีฟางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 8 สัปดาห์ท้องไขน้อยเมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา= 2.3 x 7.5 x 1.8 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์กำผาย 15 (Gam Pai 15)ชนิดข้าวเหนียวประวัติพันธุ์ได้จากการรวบรวมพันธุ์โดยพนักงานเกษตรอำเภอ จากอำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เมื่อ พ.ศ. 2493-2494 จำนวน 99 รวง และปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ที่สถานีทดลองข้าวพาน และสถานีทดลองข้าวสันป่าตอง ระหว่าง พ.ศ.2500-2505 คัดเลือกได้สายพันธุ์ กำผาย 30-12-15การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์ุ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2505ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเหนียวต้นสูง สูงประมาณ 168 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 30 พฤศจิกายนระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 6 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.8 x 7.2 x 2.0 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์เก้ารวง 88 (Gow Ruang 88)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์ได้จากการรวบรวมพันธุ์โดยพนักงานเกษตร จากอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2493-2494 จำนวน 203 รวง แล้วนำไปคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ตามสถานีทดลองข้าวต่างๆ จนได้สายพันธุ์ เก้ารวง 17-2-88การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2505ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นและใบสีเขียวเข้ม เมล็ดข้าวรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีฟางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 21 พฤศจิกายนระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 8 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา =2.2 x 7.3 x 1.7 มิลลิเมตรปริมาณอมิโลส 22-26%คุณภาพข้าวสุก ร่วน นุ่ม

ชื่อพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 (Khao Dawk Mali 105)ชนิดข้าวเจ้าหอมประวัติพันธุ์ได้มาโดยนายสุนทร สีหะเนิน เจ้าพนักงานข้าว รวบรวมจากอำเภอบางคล้าจังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อ พ.ศ.2493-2494 จำนวน 199 รวง แล้วนำไปคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ (Pure Line Selection) และปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ที่สถานีทดลองข้าวโคกสำโรง แล้วปลูกเปรียบเทียบพันธุ์ท้องถิ่นในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จนได้สายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 4-2-105 ซึ่งเลข 4 หมายถึง สถานที่เก็บรวงข้าว คืออำเภอบางคล้า เลข 2 หมายถึงพันธุ์ทดสอบที่ 2 คือ ขาวดอกมะลิ และเลข 105 หมายถึง แถวหรือรวงที่ 105 จากจำนวน 199 รวงการรับรองพันธุ์คณะกรรมการการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2502ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นสีเขียวจาง ใบสีเขียวยาวค่อนข้างแคบ ฟางอ่อน ใบธงทำมุมกับคอรวง เมล็ดข้าวรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีฟางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 25 พฤศจิกายนเมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 7.5 x 1..8 มิลลิเมตรปริมาณอมิโลส 12-17%คุณภาพข้าวสุก นุ่ม มีกลิ่นหอม

ชื่อพันธุ์ขาวตาแห้ง 17 (Khao Tah Haeng 17)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์เป็นพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่ชนะการประกวดเมื่อ พ.ศ.2499 แล้วนำไปปลูกคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ ตามสถานีทดลองข้าวต่างๆ ทั่วประเทศ คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ให้ใช้ขยายพันธุ์เมื่อ พ.ศ.2499 แต่เนื่องจากไม่ต้านทานโรคไหม้ จึงได้ยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ.2506 และได้นำกลับมาขยายพันธุ์ใหม่ ในปี พ.ศ.2508 เนื่องจากเป็นพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดี โรงสีรับซื้อและให้ราคาดี จึงเป็นที่นิยมปลูกของชาวนามาโดยตลอดการรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์ เมื่อปี พ.ศ.2499 และ พ.ศ.2508ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 150 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นสีเขียว กอแผ่กระจาย แตกกอดี เมล็ดข้าวมีรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีเหลืองจางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 20 ธันวาคมระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 8 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.3 x 7.5 x 1.8 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์ ขาวปากหม้อ 148 (Khao Pahk Maw 148)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์ได้จากการรวบรวมพันธุ์โดยนายทอง ฝอยหิรัญ พนักงานเกษตร จากอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี เมื่อปี พ.ศ.2495-2496 จำนวน 196 รวง แล้วนำมาคัดเลือกแบบคัดพันธุ์บริสุทธิ์ตามสถานีทดลองข้าวต่างๆ จนได้สายพันธุ์ขาวปากหม้อ 55-3-148การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2508ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 140 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงลำต้นสีเขียว แตกกอดี ทรงกอตั้งตรง ใบกว้างและยาว เมล็ดมีรูปร่างเรียวยาวข้าวเปลือกสีฟางอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 3 ธันวาคมระยะพักตัวของเมล็ด ประมาณ 6 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.3 x 7.6 x 1.9 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์ข้าวเจ้าหอมพิษณุโลก 1 (Khao' Jow Hawm Phitsanulok 1)ชนิดข้าวเจ้าคู่ผสมขาวดอกมะลิ 105 / LA29'73NF1U-14-3-1-1// IR58ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ 3 ทาง ระหว่างพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และสายพันธุ์ LA29'73NF1U-14-3-1-1 กับIR58 ที่สถานีทดลองข้าวสุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2525-2526พ.ศ. 2528-2533 นำไปปลูกคัดเลือกที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ตั้งแต่ชั่วที่ 2-7 จนได้สายพันธุ์ SPRLR83228-PSL-32-1การรับรองพันธุ์คณะกรรมการบริหารกรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 25ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 160 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 25 พฤศจิกายนลำต้นสูง ทรงกอตั้ง ฟางแข็งปานกลาง ใบสีเขียว ใบธงเอน คอรวงยาว รวงแน่นปานกลาง ระแง้ถี่เมล็ดข้าวเปลือกสีฟางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 11 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 7.4 x 1.7 มิลลิเมตร

ชื่อพันธุ์เฉี้ยงพัทลุง (Chiang Phatthalung)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมือง มีชื่อเดิมหลายชื่อได้แก่ ขาวกาหวิน เปอร์วิต ขาวมาเล บางแก้ว นายเฉี้ยง ทองเรือง เกษตรกรอำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ได้นำข้าวพันธุ์นี้จากอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ไปปลูกที่ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด เป็นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2517 เพื่อแก้ปัญหาความแห้งแล้ง ฝนทิ้งช่วงปลายฤดู และเป็นที่นิยมปลูกแพร่หลายในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2530 สถานีทดลองข้าวปัตตานีได้เก็บรวบรวมข้าวพันธุ์ดังกล่าวจากแปลงนาเกษตรกรในอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา และทำการคัดเลือกแบบหมู่จนได้สายพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงการรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์แนะนำ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2537ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 150 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยว ประมาณกลางเดือนมกราคมใบสีเขียว ใบธงแผ่เป็นแนวนอน คอรวงยาว รวงยาวปานกลาง ระแง้ค่อนข้างถี่เมล็ดข้าวเปลือกสีฟางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 1 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 6.7 x 1.6 มิลลิเมตรมีท้องไข่ปานกลาง

ชื่อพันธุ์เฉี้ยงพัทลุง (Chiang Phatthalung)ชนิดข้าวเจ้าประวัติพันธุ์เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมือง มีชื่อเดิมหลายชื่อได้แก่ ขาวกาหวิน เปอร์วิต ขาวมาเล บางแก้ว นายเฉี้ยง ทองเรือง เกษตรกรอำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ได้นำข้าวพันธุ์นี้จากอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ไปปลูกที่ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด เป็นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2517 เพื่อแก้ปัญหาความแห้งแล้ง ฝนทิ้งช่วงปลายฤดู และเป็นที่นิยมปลูกแพร่หลายในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2530 สถานีทดลองข้าวปัตตานีได้เก็บรวบรวมข้าวพันธุ์ดังกล่าวจากแปลงนาเกษตรกรในอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา และทำการคัดเลือกแบบหมู่จนได้สายพันธุ์เฉี้ยงพัทลุงการรับรองพันธุ์คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร มีมติให้เป็นพันธุ์แนะนำ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2537ลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 150 เซนติเมตรไวต่อช่วงแสงอายุเก็บเกี่ยว ประมาณกลางเดือนมกราคมใบสีเขียว ใบธงแผ่เป็นแนวนอน คอรวงยาว รวงยาวปานกลาง ระแง้ค่อนข้างถี่เมล็ดข้าวเปลือกสีฟางระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 1 สัปดาห์เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.1 x 6.7 x 1.6 มิลลิเมตรมีท้องไข่ปานกลาง
วันพุธที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
10 เทคนิคการ ซ่อมคอมพิวเตอร์ ด้วยตัวเอง
10 เทคนิคการ ซ่อมคอมพิวเตอร์ ด้วยตัวเอง
บ่อยครั้งที่คอมพิวเตอร์มีปัญหา เช่น อาการจอมืด , ซีดีรอมไม่ทำงาน หรือฮาร์ดิสก์เสีย ถึงแม้ว่าตอน ซื้อมาจะมีการรับประกัน 2 ถีง 3 ปี แต่โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ใช้จะไม่ได้ซื้อ คอมพ์ทุก 2-3 ปีตามระยะการ ประกัน ดั้งนั้นการซ่อมจึงเป็นเรื่องหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่นี้เรามาดูแนวทางการซ่อมคอมพ์พิวเตอร์ด้วยตนเอง
1. บันทึกทุกอย่างเก็บไว้ แม้ว่าการใช้คอมพิวเตอร์ จะทำให้สามารถที่จะทิ้งเอกสารกองโต ออกไปจากโต๊ะทำงาน ได้ก็ตาม แต่ก่อนที่ทิ้งทุกอย่างไป ควรจะทำการหาวิธีในการเก็บข้อมูลเหล่านั้นไว้ เผื่อในกรณีที่อาจเกิดปัญหา ในอนาคต ยอมเสียเวลาสักเล็กน้อยกรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ ให้เรียบร้อย ซึ่งผู้ผลิตคอมพิวเตอร์บางราย ก็ให้มีการลงทะเบียนกันแบบออนไลด์ แต่อย่าลืมพิมพ์สำเนาออกมาเก็บรวมไว้กับใบเสร็จรับเงิน เก็บใบเสร็จ รับเงินและใบรับประกันทุกอย่างไว้ให้ดี โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่มีการรับประกันแยกต่างหากออกไปไม่รวมกับ ตัวเครื่อง เช่น โมเด็ม , ซีพียู , เมนบอร์ด , จอ และอื่น ๆ
2.ทำการบ้านก่อนเลือกซื้อ ตอนที่ซื้อคอมพิวเตอร์ ควรจะต้องนึกถึงการซ่อมแซมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ในการเลือกซื้อก็ต้องคิดอยู่เสมอว่า บางร้านรับซ่อมจะมีการคิดค่าตรวจสอบเครื่องด้วย ไม่ว่าเครื่องจะอยู่ใน ประกันหรือไม่ก็ตาม ก่อนซื้อคงจะต้องทำการบ้านกันให้ดีในเรื่องของประกันที่บริษัทมีให้ ไม่ว่าจะในเรื่องประกัน การขยายระยะประกัน หรือว่าค่าธรรมเนียมต่าง ๆ สิ่งเหล่านี้จะทำให้คุณประหยัดทั้งเงินและเวลาได้ในอนาคต
3.จดบันทึกอาการเสีย เมื่อคอมพ์พิวเตอร์มีอาการผิดปกติขึ้น ให้จดบันทึกอาการต่างไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Error Messages ต่างๆ ซึ่งจะมีประโยชน์และจะมีส่วนช่วยช่าง หรือผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์สาเหตุเสียได้มาก ให้จดบันทึกอาการที่เกิดขึ้นให้ละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อที่ช่างจะได้ซ่อมได้เร็วและตรงจุด โดยทั่วไปแล้ว คำถามที่ช่างหรือคนที่จะช่วยเหลือคุณมักจะถามเช่น จอภาพแสดงอาการอย่างไร หรือ Error massage ที่เกิดขึ้นคืออะไร เป็นต้น ถ้าคุณสามารถที่จะตอบคำถามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อช่าง และคุณเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณปรึกษากับช่างผ่านทางโทรศัพท์ แลัก่อนที่จะตัดสินใจเลือกร้านซ่อมก็ให้ตรวจระยะเวลา ประกันของคอมพิวเตอร์และบรรดาอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ให้ดี
4.สำรวจให้ทั่ว ๆ การนำเครื่อคอมพิวเตอร์ไปซ่อมกับบริษัทที่คุณซื้อมาก็ไม่ใช้ว่าจะเป็นวิธีที่ดีเสมอไป เพราะบางครั้งถ้าศึกษาให้ดี ๆ อาจพบว่า ซ่อมกับบริษัทอาจทำให้คุณต้องเสียทั้งเงินและเวลา มากกว่าที่ตวรเป็นก็ได้ วิธีที่น่าจะดีกว่า ก็คือลองสำรวจร้านอื่น ๆ ดูไม่ว่าจะเป็นร้านเล็กหรือใหญ่ ตรวจสอบข้อมูลเรื่องเวลาและราคาในการซ่อมเช่น ค่าตรวจเครื่อง ค่าแรง หรือค่าซ่อมนอกสถานที่ (ในกรณีที่ต้องการให้ช่างมาซ่อมที่บ้าน) เป็นต้น ร้านเล็ก ๆ บางครั้งให้ความสำคัญเป็นกันเองกับลูกค้ามากกว่า ร้านใหญ่ ๆ เนื่องจากมีความต้องการอยู่รอดในการแข่งขันกับร้านใหญ่ ๆ ในขณะเดินสำรวจร้านต่าง ๆ อยู่ให้ลองสังเกคร้านที่ติดโลโก้ยี่ห้อดังเช่น ไอบีเอ็ม , คอมแพค , เป็นต้น ซึ่งมันอาจเป็นไปได้ว่า ร้านนั้น ๆ รับซ่อมเครื่องที่อยู่ในประกันของยี่ห้อนั้น ๆ แต่อย่างไรก็ตามร้านที่รับซ่อมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะรับซ่อม เครื่องทุกยี่ห้ออยู่แล้ว
5.ค้นหาบริการทางโทรศัพท์ บางกรณีอาจเป็นการไม่สะดวกที่จะเดินทางไปซ่อมที่ร้านโดยตรง การไปโทรศัพท์ไปปรึกษาจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เมื่อคุณเริ่มโทรศัพท์หาร้านซ่อม ให้ลองสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ที่คุณได้รับทางโทรศัพท์ เช่นต้องรอสายนานเท่าไร เต็มใจช่วยเหลือหรือไม่ แค่นี้ก็เป็นการช่วยตัดสินใจได้ว่า ควรซ่อมกับร้านนั้นหรือไม่ แล้วอย่าลืมจดชื่อรุ่นหรือ Serial Number ของคอมพิวเตอร์ไว้เพื่อความสะดวก หรือจะโทรไปรายการ 94 FM ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 14:00-15:00 ที่นี้รับตอบปัญหาทุกเรื่องดีมากเลย
6.ค่าธรรมเนียม เมื่อยกเครื่องคอมพิวเตอร์ไปซ่อมเป็นธรรมดาที่ช่างจะสำรวจดูว่ามีอะไรบ้างที่ต้องซ่อม ตั้งแต่สายไฟยันฮาร์ดดิส ซึ่งร้านจำเป็นจะต้องคิดค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบนี้ แต่ก็มีบางร้านเหมือนกัน ที่ไม่คิด แต่ถ้าคุณพอมีความรู้เรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ก็อาจทดลองใช้โปรแกรม Norton Utility ตรวจสอบเครื่องของคุณก่อน บางที่อาจทำให้คุณไม่ต้องเสียเงินก็ได้ หรือบางที่คุณอาจโทรมาเรียกช่างมาซ่อม ที่บ้านก็ได้ แต่คุณจะต้องเสียเงินเพิ่มขึ้น
7.คิดในแง่ร้ายไว้ก่อน หลังจากที่เครื่องของคุณได้รับการตรวจสอบอาการจากหลาย ๆ ร้านซ่อมแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนในการตัดสินใจว่า จะซ่อมหรือไม่ซ่อมในร้านใดจึงจะดี ซึ่งบางครั้งร้านซ่อมอาจจะบอกว่าเครื่อง ไม่อยู่ในประกันแล้วหรืออะไหล่ชิ้นที่ต้องการไม่มีอีกต่อไปแล้ว ข่าวร้ายเหล่านี้เป็นแคเพียงขั้นเริ่มต้นใน การซ่อมคอมพิวเตอร์ของคุณ บางที่คุณอาจลองสอบถามร้านดูว่าสามารถจะเอาอะไหล่เก่าไปแลกอะไหล่ใหม่ ได้หรือไม่ ในกรณีอะไหล่ชิ้นเก่าเลิกผลิตไปแล้ว โดยอาจต้องเพิ่มเงินเล็กน้อย
8.เตรียมเครื่องให้พร้อมก่อนนำไปซ่อม ก่อนที่จะทิ้งเครื่องเอาไว้ที่ร้านเพื่อทำการซ่อมลองตรวจสอบว่าคุณได้ แบ็กอัพข้อมูลที่สำคัญเอาไว้ , จด Serial number ของฮาร์ดิสก์ , ซีดีรอม , โมเด็ม และอื่น ๆ ไว้เพื่อตรวจสอบกับอุปกรณ์ที่นำมาเปลี่ยน ลบข้อมูลส่วนตัวออกให้หมดเช่น อินเตอร์เน็ทพาสเวิร์ด เพื่อป้องกันถูกลักลอบนำไปใช้
9..ขอเอกสารการซ่อมจากร้าน ก่อนที่จะทิ้งเครื่องเอาไว้ที่ร้านอย่าลืมขอเอกสารที่บอกถึงชิ้นส่วนที่จะเปลี่ยน และระยะเวลาในการซ่อม ตรวจสอบเอกสารให้ละเอียดเพื่อป้องกันค่าใช้จ่านแอแฝง แล้วอย่าลืมถามถึงการ รับประกันหลังการซ่อม
10.ติดตามความคืบหน้า สิ่งสุดท้ายที่ต้องทำคือคอยโทรไปถามว่าการซ่อมไปถึงไหน เปลี่ยนอะไรบ้าง เสร็จทันกำหนดหรือไม่ และเมื่อไปรับเครื่อง ให้ทดสอบดูก่อนว่าเครื่องทำงานปกติหรือไม่ ก่อนนำเครื่องกลับ
บ่อยครั้งที่คอมพิวเตอร์มีปัญหา เช่น อาการจอมืด , ซีดีรอมไม่ทำงาน หรือฮาร์ดิสก์เสีย ถึงแม้ว่าตอน ซื้อมาจะมีการรับประกัน 2 ถีง 3 ปี แต่โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ใช้จะไม่ได้ซื้อ คอมพ์ทุก 2-3 ปีตามระยะการ ประกัน ดั้งนั้นการซ่อมจึงเป็นเรื่องหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่นี้เรามาดูแนวทางการซ่อมคอมพ์พิวเตอร์ด้วยตนเอง
1. บันทึกทุกอย่างเก็บไว้ แม้ว่าการใช้คอมพิวเตอร์ จะทำให้สามารถที่จะทิ้งเอกสารกองโต ออกไปจากโต๊ะทำงาน ได้ก็ตาม แต่ก่อนที่ทิ้งทุกอย่างไป ควรจะทำการหาวิธีในการเก็บข้อมูลเหล่านั้นไว้ เผื่อในกรณีที่อาจเกิดปัญหา ในอนาคต ยอมเสียเวลาสักเล็กน้อยกรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ ให้เรียบร้อย ซึ่งผู้ผลิตคอมพิวเตอร์บางราย ก็ให้มีการลงทะเบียนกันแบบออนไลด์ แต่อย่าลืมพิมพ์สำเนาออกมาเก็บรวมไว้กับใบเสร็จรับเงิน เก็บใบเสร็จ รับเงินและใบรับประกันทุกอย่างไว้ให้ดี โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่มีการรับประกันแยกต่างหากออกไปไม่รวมกับ ตัวเครื่อง เช่น โมเด็ม , ซีพียู , เมนบอร์ด , จอ และอื่น ๆ
2.ทำการบ้านก่อนเลือกซื้อ ตอนที่ซื้อคอมพิวเตอร์ ควรจะต้องนึกถึงการซ่อมแซมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ในการเลือกซื้อก็ต้องคิดอยู่เสมอว่า บางร้านรับซ่อมจะมีการคิดค่าตรวจสอบเครื่องด้วย ไม่ว่าเครื่องจะอยู่ใน ประกันหรือไม่ก็ตาม ก่อนซื้อคงจะต้องทำการบ้านกันให้ดีในเรื่องของประกันที่บริษัทมีให้ ไม่ว่าจะในเรื่องประกัน การขยายระยะประกัน หรือว่าค่าธรรมเนียมต่าง ๆ สิ่งเหล่านี้จะทำให้คุณประหยัดทั้งเงินและเวลาได้ในอนาคต
3.จดบันทึกอาการเสีย เมื่อคอมพ์พิวเตอร์มีอาการผิดปกติขึ้น ให้จดบันทึกอาการต่างไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Error Messages ต่างๆ ซึ่งจะมีประโยชน์และจะมีส่วนช่วยช่าง หรือผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์สาเหตุเสียได้มาก ให้จดบันทึกอาการที่เกิดขึ้นให้ละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อที่ช่างจะได้ซ่อมได้เร็วและตรงจุด โดยทั่วไปแล้ว คำถามที่ช่างหรือคนที่จะช่วยเหลือคุณมักจะถามเช่น จอภาพแสดงอาการอย่างไร หรือ Error massage ที่เกิดขึ้นคืออะไร เป็นต้น ถ้าคุณสามารถที่จะตอบคำถามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อช่าง และคุณเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณปรึกษากับช่างผ่านทางโทรศัพท์ แลัก่อนที่จะตัดสินใจเลือกร้านซ่อมก็ให้ตรวจระยะเวลา ประกันของคอมพิวเตอร์และบรรดาอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ให้ดี
4.สำรวจให้ทั่ว ๆ การนำเครื่อคอมพิวเตอร์ไปซ่อมกับบริษัทที่คุณซื้อมาก็ไม่ใช้ว่าจะเป็นวิธีที่ดีเสมอไป เพราะบางครั้งถ้าศึกษาให้ดี ๆ อาจพบว่า ซ่อมกับบริษัทอาจทำให้คุณต้องเสียทั้งเงินและเวลา มากกว่าที่ตวรเป็นก็ได้ วิธีที่น่าจะดีกว่า ก็คือลองสำรวจร้านอื่น ๆ ดูไม่ว่าจะเป็นร้านเล็กหรือใหญ่ ตรวจสอบข้อมูลเรื่องเวลาและราคาในการซ่อมเช่น ค่าตรวจเครื่อง ค่าแรง หรือค่าซ่อมนอกสถานที่ (ในกรณีที่ต้องการให้ช่างมาซ่อมที่บ้าน) เป็นต้น ร้านเล็ก ๆ บางครั้งให้ความสำคัญเป็นกันเองกับลูกค้ามากกว่า ร้านใหญ่ ๆ เนื่องจากมีความต้องการอยู่รอดในการแข่งขันกับร้านใหญ่ ๆ ในขณะเดินสำรวจร้านต่าง ๆ อยู่ให้ลองสังเกคร้านที่ติดโลโก้ยี่ห้อดังเช่น ไอบีเอ็ม , คอมแพค , เป็นต้น ซึ่งมันอาจเป็นไปได้ว่า ร้านนั้น ๆ รับซ่อมเครื่องที่อยู่ในประกันของยี่ห้อนั้น ๆ แต่อย่างไรก็ตามร้านที่รับซ่อมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะรับซ่อม เครื่องทุกยี่ห้ออยู่แล้ว
5.ค้นหาบริการทางโทรศัพท์ บางกรณีอาจเป็นการไม่สะดวกที่จะเดินทางไปซ่อมที่ร้านโดยตรง การไปโทรศัพท์ไปปรึกษาจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เมื่อคุณเริ่มโทรศัพท์หาร้านซ่อม ให้ลองสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ที่คุณได้รับทางโทรศัพท์ เช่นต้องรอสายนานเท่าไร เต็มใจช่วยเหลือหรือไม่ แค่นี้ก็เป็นการช่วยตัดสินใจได้ว่า ควรซ่อมกับร้านนั้นหรือไม่ แล้วอย่าลืมจดชื่อรุ่นหรือ Serial Number ของคอมพิวเตอร์ไว้เพื่อความสะดวก หรือจะโทรไปรายการ 94 FM ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 14:00-15:00 ที่นี้รับตอบปัญหาทุกเรื่องดีมากเลย
6.ค่าธรรมเนียม เมื่อยกเครื่องคอมพิวเตอร์ไปซ่อมเป็นธรรมดาที่ช่างจะสำรวจดูว่ามีอะไรบ้างที่ต้องซ่อม ตั้งแต่สายไฟยันฮาร์ดดิส ซึ่งร้านจำเป็นจะต้องคิดค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบนี้ แต่ก็มีบางร้านเหมือนกัน ที่ไม่คิด แต่ถ้าคุณพอมีความรู้เรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ก็อาจทดลองใช้โปรแกรม Norton Utility ตรวจสอบเครื่องของคุณก่อน บางที่อาจทำให้คุณไม่ต้องเสียเงินก็ได้ หรือบางที่คุณอาจโทรมาเรียกช่างมาซ่อม ที่บ้านก็ได้ แต่คุณจะต้องเสียเงินเพิ่มขึ้น
7.คิดในแง่ร้ายไว้ก่อน หลังจากที่เครื่องของคุณได้รับการตรวจสอบอาการจากหลาย ๆ ร้านซ่อมแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนในการตัดสินใจว่า จะซ่อมหรือไม่ซ่อมในร้านใดจึงจะดี ซึ่งบางครั้งร้านซ่อมอาจจะบอกว่าเครื่อง ไม่อยู่ในประกันแล้วหรืออะไหล่ชิ้นที่ต้องการไม่มีอีกต่อไปแล้ว ข่าวร้ายเหล่านี้เป็นแคเพียงขั้นเริ่มต้นใน การซ่อมคอมพิวเตอร์ของคุณ บางที่คุณอาจลองสอบถามร้านดูว่าสามารถจะเอาอะไหล่เก่าไปแลกอะไหล่ใหม่ ได้หรือไม่ ในกรณีอะไหล่ชิ้นเก่าเลิกผลิตไปแล้ว โดยอาจต้องเพิ่มเงินเล็กน้อย
8.เตรียมเครื่องให้พร้อมก่อนนำไปซ่อม ก่อนที่จะทิ้งเครื่องเอาไว้ที่ร้านเพื่อทำการซ่อมลองตรวจสอบว่าคุณได้ แบ็กอัพข้อมูลที่สำคัญเอาไว้ , จด Serial number ของฮาร์ดิสก์ , ซีดีรอม , โมเด็ม และอื่น ๆ ไว้เพื่อตรวจสอบกับอุปกรณ์ที่นำมาเปลี่ยน ลบข้อมูลส่วนตัวออกให้หมดเช่น อินเตอร์เน็ทพาสเวิร์ด เพื่อป้องกันถูกลักลอบนำไปใช้
9..ขอเอกสารการซ่อมจากร้าน ก่อนที่จะทิ้งเครื่องเอาไว้ที่ร้านอย่าลืมขอเอกสารที่บอกถึงชิ้นส่วนที่จะเปลี่ยน และระยะเวลาในการซ่อม ตรวจสอบเอกสารให้ละเอียดเพื่อป้องกันค่าใช้จ่านแอแฝง แล้วอย่าลืมถามถึงการ รับประกันหลังการซ่อม
10.ติดตามความคืบหน้า สิ่งสุดท้ายที่ต้องทำคือคอยโทรไปถามว่าการซ่อมไปถึงไหน เปลี่ยนอะไรบ้าง เสร็จทันกำหนดหรือไม่ และเมื่อไปรับเครื่อง ให้ทดสอบดูก่อนว่าเครื่องทำงานปกติหรือไม่ ก่อนนำเครื่องกลับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)